บทบาทของนักวิจัยมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยท่ามกลางสังคมและเศรษฐกิจโลกที่เปลี่ยนแปลง การทำงานวิจัยต้องตอบโจทย์และแก้ปัญหาสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงรวมถึงสามารถต่อยอดนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ภัทรชัย กีรติสิน รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล ได้กล่าวถึงบทเรียนที่ผ่านมาซึ่งพบว่าการเตรียมพร้อมรับทุกสถานการณ์ด้วยการทำวิจัยที่เป็น "พื้นฐาน" แม้จะต้องใช้เวลานานกว่าจะเห็นผล แต่เมื่อถึงเวลาต้องใช้จริง อย่างเช่นในวิกฤติที่ต้องเผชิญกับสถานการณ์โรคระบาด
ม.มหิดลชี้วิจัยเชื้อดื้อยาแบบสหสาขาวิชา เสริมความมั่นคงสาธารณสุขโลก
—
"เชื้อแบคทีเรียดื้อยา" ยังคงเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่คอยคุกคามความมั่นคงของโลกอย่างต่...
ม.มหิดลไม่ทอดทิ้งคนไทย พัฒนาชุดตรวจ COVID-19 แบบรู้ผลเร็วมาตรฐานสากลเพื่อคนไทย ส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมไทย พร้อมเตรียมขยายผลสู่ระดับภูมิภาค
—
ด้วยบทพิสูจน...
ม.มหิดล ถอดบทเรียนนวัตกรสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์จากข้าวไทย ผ่านระบบออนไลน์ 23 มี.ค.นี้
—
จากความสำเร็จในการวิจัยผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์จากข้า...
ม.มหิดล พร้อมร่วมวิจัยสร้างสรรค์นวัตกรรมสู้วิกฤติ COVID-19
—
วิกฤติ COVID-19 ได้ให้บทเรียนไว้คอยกระตุ้นเตือนให้ทุกคนใช้ชีวิตกันอย่างมีสติ โดย COVID-19 ไม่...
ม.มหิดล สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์โลกแห่งอนาคต
—
นักวิจัยในโลกยุคดิสรัปชันเช่นปัจจุบัน สร้างสรรค์นวัตกรรมโดยมองถึงผลกระทบ (impact) ที่จะเกิดขึ้นในอน...
ม.มหิดล เปิด “ศูนย์ร่วมคิดพาณิชย์นวัตกรรม" (MICC) เชื่อมต่อนักวิจัยสู่โลกธุรกิจ
—
มหาวิทยาลัยมหิดล โดย สถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม (iNT) กำหนดเ...